Associate Dean for Administration Assoc. Prof. Ousa Biggins, Ph.D.

Assoc. Prof. Ousa Biggins, Ph.D.

Associate Dean for Administration Assoc. Prof. Ousa Biggins, Ph.D.

  • Fullname :Assoc. Prof. Ousa Biggins, Ph.D.
  • Position :Associate Dean for Administration
  • Tel :+(662) 727-3758
  • Email : gscm@nida.ac.th

About

  • Education :อบ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • นศ.ม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • Ph.D. (Communication) The University of Canberra, Australia
  • Certificate III (Information Technology, Multimedia) Australian Business Academy, Australia.

Expertise of Academic

  • Research :สื่อเด็กและเยาวชน การรู้เท่าทันสื่อใหม่ การวิจัยและการประเมินผล

Academic Works

  • Journal :

  • อุษา บิ้กกิ้นส์.(2550) ทฤษฎีและแนวคิดนิเทศศาสตร์พัฒนาการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • อุษา บิ้กกิ้นส์.(2553). แนวทางสร้างสรรค์นวัตกรรมสู่นครแห่งการอ่านที่ยั่งยืน(ถอดบทเรียน). กรุงเทพฯ : แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่านและศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
  • อุษา บิ้กกิ้นส์.(2555). การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ชุดเครื่องมือและกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อชุมชน. กรุงเทพฯ : แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชน(สสย.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • Thai Telecentres and E-Development between Urban and Rural Areas นำเสนอใน International Conference on Communication for Development in the Information Age: Extending the Benefits of Technology for All 7-9 January, 2003 โดย Global Communication Research Association ประชุมที่ Banaras Hindu University, Varanasi, India.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์.(2550) ทฤษฎีและแนวคิดนิเทศศาสตร์พัฒนาการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • Asian Communication Handbook 2008 Thailan
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ. วารสารสุทธิปริทัศน์. 26(80). 147-161.
  • IS/Thesis

  • การบริหารจัดการและการสื่อสารความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจในการสร้างโอกาสในการมีงานทำให้กับคนพิการในประเทศไทย (ปาริชาติ แสงอัมพร)
  • การรับรู้ตราสินค้า ทัศนคติที่มีต่อตราสินค้า และพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ตราสินค้าเบียร์สิงห์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (ดวงกลม ชื่นจิตร)
  • กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์องค์กรด้วยแบรนด์นายจ้าง (Employer Branding) กรณีศึกษา สายการบินนกแอร์ (ดนัย ศิมานนท์)
  • ปัจจัยแห่งความสำเร็จของกลยุทธ์การสื่อสารด้านกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ของบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (กำพล แสงทรัพย์สิน)
  • กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการสร้างคุณค่าร่วมด้วยนวัตกรรมกระดาษจากคันนา ในการดำเนินธุรกิจของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ (1991) จำกัด (ภาธินี ศรัทธาธรรมกุล)
  • การสื่อสารการตลาดออนไลน์ ผ่านเฟซบุ๊กของห้างสรรพสินค้าโรบินสัน (ฉัตรพร ทรงนวรัตน์)
  • การเปิดรับข้อมูลข่าวสารกับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมผ่านอินเตอร์เน็ตของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (สุลีวัลย์ เศรษฐสวัสดิ์)
  • ทัศนคติที่มีต่อโฆษณาแฝงของผู้มีชื่อเสียงในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : อินสตาแกรม (ปาจรีย์ เชาวน์ศิริ)
  • อิทธิพลของสื่อโทรทัศน์ต่อการตัดสินใจทำศัลยกรรมของวัยรุ่น : กรณีศึกษา รายการ Let Me In ศัลยกรรมเปลี่ยนชีวิต (ศศิกานต์ ศรีสุข)
  • การสื่อสารบอกต่อแบบปากต่อปากบนเว็ปไซต์แนะนำร้านอาหารกับการตัดสินใจเลือกร้านอาหารของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (เยาวลักษณ์ ทับทิมทอง)
  • กลวิธีการสื่อสารองค์การผ่านสื่อใหม่ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารสาสตร์ (ณัฏฐนันทน์ สิทธิพงษ์)
  • การรับรู้เครื่องมือการสื่อสารแฝงทางการตลาดของผลิตภัณฑ์เบียร์สิงห์ผ่านแฟนคลับทีมแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (สุวภัทร เจียมเงิน)
  • การรับรู้ประโยชน์และความพึงพอใจในบริการธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (K-mobile Banking Plus) ของธนาคารกสิกรไทยของกลุ่มลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานคร (ปิยาภา ศรีศิริ)
  • การรับรู้ต่อภาพลักษณ์ของบริษัทปตท. จำกัด(มหาชน) ผ่านตราสัญลักษณ์ Godji ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (ภาณุ อุทะนุต)
  • การปรับเปลี่ยนตราสินค้าองค์กรของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) (มณฑ์อัสมภรณ์ วงค์หนัก)
  • กระบวนการเปลี่ยนแปลงของนักหนังสือพิมพ์ไทยสู่การเป็นนักหนังสือพิมพ์ประชาชน (สุชาติ ศรีตะมา)
  • นวัตกรรมการสื่อสารเพื่อการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมของ โรงภาพยนตร์ชุมชนกันตนา มูฟวี่มอลล์ (บวรทัช อุ่นวัฒนะ)
  • กิจกรรมรณรงค์ทางการตลาดเพื่อสังคมฐานชุมชนของการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลเพื่อสร้างสังคมที่ทุกคนเท่าเทียม (สิริพันธุ์ กระแสร์แสน)
  • ความสามารถเชิงสมรรถนะด้านการรู้เท่าทันสื่อของคนยุคเจเนอเรชั่นวายในประเทศไทย (นุดี หนูไพโรจน์)
  • กระบวนการเปลี่ยนแปลงของนักหนังสือพิมพ์ไทยสู่การเป็นนักหนังสือพิมพ์ประชาชน (สุชาติ ศรีตะมา)
  • Brand Portfolio Strategy for Thai Fashion Company (Mrs.Kwanta Sirivajjanangkul)
  • Transformation of Newspaper Journalists to Civic Journalists in Thailand in Convergent Media Age (Suchat Sritama)
  • การสื่อสารเพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน: ชุมชนท่าพรุ-อ่าวท่าเลน จังหวัดกระบี่ (ธันย์ชนก ช่างเรือ)
  • การเปิดรับข่าวสารและความพึงพอใจ ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มีต่อบ้านคุณย่า รีสอร์ท (ขอบฟ้า ศรัณยพิพัฒน์)
  • พฤติกรรมการเปิดรับ ความสนใจ ความพึงพอใจ และการใช้ประโยชน์ในการแสวงหาความรู้ทางศาสนาอิสลามผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตของมุสลิมในเขตกรุงเทพมหานคร (พิชญ โพธิ์กระเจน)
  • การเปิดรับตราสินค้าและการรับรู้คุณค่าตราสินค้าผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ อิเกีย ไทยแลนด์ (ปราชรีย์ สุขศรี)
  • เทคนิคการสื่อสารเพื่อเสริมสร้างพลังของบัณฑิต อึ้งรังษี ผ่านสื่อใหม่ (ยศวดี วงศาโรจน์)
  • การศึกษานโยบายและปัจจัยที่มีผลกระทบของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมบุญนิยมทีวี (รุณยุภา วริวงค์)
  • พฤติกรรมการแสวงหาและการรับรู้ข่าวสารของนักท่องเที่ยวโฮมสเตย์ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (ชัยพงษ์ บุญชัย)
  • การศึกษาการสื่อสารของ Ducati Thailand บนเฟซบุ๊กที่มีอิทธิพลต่อผู้รับสารและภาพลักษณ์แบรนด์ (ณัฐธยาน์ ดุลภากร)
  • การรับรู้ข้อมูลข่าวสารการสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการและความพึงพอใจของผู้บริโภคที่ใช้บริการสถานีบริการน้ำมันปตท.ในเขตกรุงเทพมหานคร (ปาณิสรา ประพจน์พิสุทธิ์)
  • ศึกษาสัญญะในละครโทรทัศน์: กรณีศึกษาละคร นาคี (แพรว ธนิกุล)
  • การรับรู้ตราสินค้าและความพึงพอใจของผู้บริโภคผ่านสื่อเฟซบุ๊ก เดอะบอดี้ ช็อป ประเทศไทย (วุมิไกร คชนูด)
  • ปัจจัยที่มีต่อความสำเร็จในการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการของผู้ประกอบกิจการเพื่อสังคม กรณีศึกษากลุ่มมาดี (ณฐมน ศรัทธา)
  • ถอดบทเรียนการสื่อสารองค์การผ่านสื่อใหม่ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (พิพัฒน์พล เพ็ญเกิด)
  • พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตของผู้หญิงวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร (วาสนา ทิพย์เนตร)
  • แรงจูงใจและการสื่อสารการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเติมเงินเกม Arena of valor (ROV) (สราวุฒิ สักเทวิน)
  • การเปิดรับสื่อกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศทางสุขภาพที่มีผลต่อการรู้เท่าทันโรคความดันโลหิตสูงของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร (ศิรินันท์ ศรีพระคุณ)
  • พฤติกรรมการรับชมรายการ Let Me In Thailand ศัลยกรรมพลิกชีวิตที่มีผลต่อทัศนคติเกี่ยวกับการทำศัลยกรรมเสริมความงามของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร (ธิดารัตน์ สืบบุก)
  • การสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ โครงการ Chula Zero Waste (แผนปฏิบัติการจัดการขยะอย่างยั่งยืน ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) (อรวรรณ มหาอิทธิดล)
  • การศึกษาปัจจัยสู่ความสาเร็จ และรูปแบบเครือข่ายการสื่อสารชุมชน คนทางานธุรกิจสร้างสรรค์ กรณีศึกษา พื้นที่การทางานร่วมกัน ฮับบา ไทยแลนด์ สาขาเอกมัยซอย 4 (ธัญญ์ฐิตา จิตร์ภิรมย์)
  • การสื่อสารแฟนเพจของณอน บูรณะหิรัญ – Sean Buranahiran กับการสร้างแรงบันดาลใจเชิงบวก (นงนภัส พินิจวรารักษ์)
  • พฤติกรรมการเปิดรับเครื่องมื่อการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียม ของกลุ่มคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร (นิชาภา เลิศอนันต์)
  • การสื่อสารผ่านยูทูปที่มีผลต่อการรับรู้และทัศนคติโรคซึมเศร้าของกลุ่มคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (วารีทิพย์ บุญยอ)
  • แนวทางการรณรงค์เพื่อลดอุบัติเหตุจากความเร็วบนท้องถนน (วรรษมน ธารามาศ)
  • การศึกษารูปแบบการโฆษณาบนอินสตาแกรมที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแบรนด์ยูนิโคลของกลุ่มวัยทางาน ในเขตกรุงเทพมหานคร (กุสุมาลินท์ ปรัยนุ)
  • การสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้และทัศนคติของประชาชนที่มีต่อ โครงการฟื้นฟูแนวปะการังพื้นที่เกาะสมุย (ศิรินี สมุทรจินดา)
  • กระบวนการสร้างตราสินค้า เอส แอนด์ พี (วิลาสินี เพ่งผล)
  • การศึกษากระบวนการรณรงค์โครงการบ้านปลอดบุหรี่ของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ (นวพร ปั้นจันทร์)
  • การวิเคราะห์รูปแบบและเนื้อหาการสื่อสารการเมืองผ่านเฟซบุ๊กในช่วงการปฏิวัติ (คมช.) ของ Fanpage Suthep Thaugsuban (สุเทพ เทือกสุบรรณ) (น้ำฟ้า พรหมสูตร)
  • การรู้เท่าทันสื่อโซเซียลมีเดียในการเลือกซื้อเครื่องสำอางแบรนด์เนมของผู้บริโภค (มาฆมาส ลาชโรจน์)
  • การสื่อสารต่างวัฒนธรรมและการปรับตัวของนักศึกษามุสลิม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตที่มาจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (พนิดา เขียวไสว)
  • Strategies of communicating health in Facebook Page: Wingnaidee that affect decisions to participate in marathon activities of audiences ( Miss Chonticha Suttawichai 2562)
  • Research Papers Published

  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2557). โมเดลการรณรงค์เพื่อสร้างสรรค์พื้นที่สุขภาพของชุมชนเมือง” ในการประชุมวิชาการ ประจำปี 2557 เรื่อง “พัฒนบริหารศาสตร์ในบริบทอาเซียน”. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • Biggins, O. (2556). Model development for communication campaigns to create healthy space at urban community in Thailand. Paper presented at The 21st IUHPE World Conference on Health Promotion. Pattaya, Thailand.
  • Biggins, O. (2556). Factors on motorcycle drunk driving behavior in Bangkok metropolitan. Paper presented at GAPC Global Alcocol Policy Confereance 2013. COEX Convention Center Seoul, Korea.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเมาแล้วขับและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสุทธิปริทัศน์.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเมาแล้วขับและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสุทธิปริทัศน์.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2556). การพัฒนาโมเดลเพื่อสร้างสรรค์พื้นที่สุขภาวะของชุมชนเมือง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติเนื่องในวันสถาปนาสถาบัน ครบรอบ 48 ปี. กรุงเทพฯ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (2559). ไซเบอร์เซ็กส์กับทัศนคติทางเพศของวัยรุ่น. วารสารสุทธิปริทัศน์. 30(ฉบับพิเศษ), 104-114.
  • Ousa Biggins. Health Communication System at Klongchan Housing Community.
  • Research Projects

  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2559). โครงการกลยุทธ์การสื่อสาร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2558). โครงการ “ติดตามการประเมินผลและการผลักดันการใช้ประโยชน์โครงการวิจัยอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ. กรุงเทพฯ, สกว.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2558). โครงการประเมินติดตามผล และเสนอรูปแบบการรณรงค์เพื่อขับเคลื่อนประเด็นสาธารณะของแผนงงานมูลนิธิเมาไม่ขับ ชมรมคนห่วงหัว และสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ. กรุงเทพฯ, สสส.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2557). โครงการ ประเมินผลแผนงานมูลนิธิเมาไม่ขับ ชมรมคนห่วงหัวและสำนักงานเครือข่าย ลดอุบัติเหตุ. กรุงเทพฯ, สสส.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2555). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเมาแล้วขับ และพฤติกรรมการเปิดรับสื่อของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2555). ไซเบอร์เซ็กส์กับทัศนคติทางเพศของวัยรุ่น. กรุงเทพฯ.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2555). การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ชุดเครื่องมือและกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อชุมชน. กรุงเทพฯ
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2553-2554). โครงการการสื่อสารเพื่อความเท่าเทียมทางสุขภาพ. กรุงเทพฯ
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2554). ชุดเครื่องมือการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ. กรุงเทพฯ
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. (ปี 2554). โครงการ “เพาะเมล็ดพันธุ์ด้วยหัวใจ”สื่อสร้างสรรค์เพื่อเด็กในสภาวะยากลำบาก. กรุงเทพฯ.
  • อุษา บิ้กกิ้นส์, ทัศนีย์ ศิริวรรณและฉัตรฉวี คงดี. (2558). การติดตามประเมินผลและการผลักดันการใช้ประโยชน์โครงการวิจัยอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการปี 2558. สำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
  • อุษา บิ้กกิ้นส์. การดำเนินงานของมูลนิธิเมาไม่ขับและสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ.) ในรอบ 10 ปี (2548-2558) และรูปแบบการรณรงค์ขับเคลื่อนประเด็นสาธารณะ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).