
Lecturer Assoc. Prof. Pratoom Rerkklang, Ph.D.
- Fullname :Assoc. Prof. Pratoom Rerkklang, Ph.D.
- Position :Lecturer
- Tel :+(662) 727-3758-9
- Email : gscm@nida.ac.th
About
- Education :นศ.บ. (การประชาสัมพันธ์) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ศษ.บ.(การบริหารการศึกษา) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- นศ.ม. (นิเทศศาสตร์พัฒนาการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- กศ.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
Expertise of Academic
- Research :การสื่อสาร การสื่อสารการเมือง การวิจัยการสื่อสาร การวิจัยการประชาสัมพันธ์และการประเมินผลการประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ การวางแผนประชาสัมพันธ์ สื่อสารพุทธศาสนา
Academic Works
Journal :
- อการสื่อสารภายในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. หน้า 45-59. Bu Academic Review. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม-ธันวาคม 2545.
- อFamily Communication Patterns and Exposure of Bangkok Juveniles to Mass Media.pp.30-36. Media Asia. Volume 15 number 1 1988.
- อพฤติกรรมการเปิดรับ การใช้ประโยชน์และความต้องการข่าวสารพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนชาวไทย. หน้า 69-84. Bu Academic Review. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2552.
- อนำเสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง Buddhist Communication for Peace and Happiness of Mankind: The Future Trend in Human Communication. ที่ Hawaii สหรัฐอเมริกา ปี 2007
- อนำเสนอผลงานวิจัยการประชุมนานาชาติ spices 2008 ที่ปีนัง ประเทศมาเลเซีย หัวข้อเรื่อง Selective Exposure, Uses, and Need about Buddhism Information Among Thai Buddhists. August, 2008.
- อ นำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง การประเมินและติดตามผลการฝึกสมาธิของนักศึกษาภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ การสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมระดับอุดมศึกษา 28 เมษายน 2553
- อ การจัดการความเครียด เติมความสุข เพื่อประสิทธิผลในการทำงาน วารสารนักบริหาร ปีที่ 30 ฉบับพิเศษ เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม 2553 ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นฐานธรรมะ การแสวงหาขช้อมูลข่าวสารธรรมะ การเป็นคนดี และความสุข : ศึกษาเฉพาะกรณีนักศึกษาภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วารสาร BU ACADEMIC REVIEW Year X The 48th Anniversary of Bangkok University, 2010.
- อความพึงพอใจในงาน ความพึงพอใจในงานวิชาชีพประชาสัมพันธ์ และความพึงพอใจในชีวิตของนักวิชาชีพประชาสัมพันธ์ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล วารสาร BU ACADEMIC REVIEW Year X The 48th Anniversary of Bangkok University, 2010.
- อการเปิดรับข้อมูลข่าวสารการเมือง การมีส่วนรวมทางการเมืองและความต้องการข้อมูลข่าวสาร การเมืองของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล วารสาร BU ACADEMIC REVIEW Year X The 48th Anniversary of Bangkok University, 2010. การรับรู้วิชาชีพประชาสัมพันธ์ของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑ, วารสารสมาคมนักวิจัย ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2554
- Pratoom Rerkkang, Apichat Puksawadde and Peera Jirasophon. (2015). Strategic Public Relations through Online Social Media. Journal of Public Relations and Advertising, 8(2), 15-27.
- ประทุม ฤกษ์กลาง, เอมิการ์ ศรีธาตุ. พฤติกรรมการใช้และการรับรู้อิทธิพลของสื่อดิจิทัลต่อเจเนอเรชั่นวายและเจเนอเรชั่นแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 11(3), 20-31.
IS/Thesis
- ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ กลวิธีประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมองค์การและผลการปฏิบัติงาน (ฉันทกร แก้วเกษ)
- กลยุทธ์การนำเสนอภาพลักษณ์องค์กรผ่านสื่อยูทูบ (YouTube) (เดชพัฒน์ มั่นคงหัตถ์)
- พฤติกรรมการการเปิดรับชม และความพึงพอใจต่อทีวีดิจิทัลของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (อชิระ ดวงหอม)
- พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยวไทยของประชาชนคนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร (ภาพพิมพ์ เพชรศิริ)
- พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร (ปัทมา แย้มไพเราะ)
- ภาพลักษณ์ และความภักดี ในตราสินค้าของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ (มิวเซียมสยาม) (กัญญาภัทร คงนนท์)
- อิทธิพลของพฤติกรรมการแสวงหาข่าวสารธรรมะพุทธศาสนาต่อการลดความเครียดและการเพิ่มความสุขของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร (ประพิมพันธ์ เป็นสุขพร้อม)
- กลยุทธการเผยแพร่ศาสนาพุทธนิกายเซนของพระ ติช นัท ฮันห์ (ณัฐภัทร์ พงษ์เสาร์)
- ปัจจัยการเปิดรับการสื่อสารการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการคลินิกเสริมความงามของกลุ่มคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร ศึกษาเฉพาะกรณี พรเกษมคลินิก (พลอยณัชชา เลิศพิชชาพัชร์)
- พฤติกรรมการเปิดรับข่าวผ่านเฟสบุ๊คของประชาชน GenY ในเขตกรุงเทพมหานคร (ศิริลักษณ์ คำไวโย)
- พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารในเว็ปไซต์ข่าวสดของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร (ชาญณรงค์ บุบผาแดง)
- ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ของสินค้าสมาร์ทโฟนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์กับการตอบสนองของประชาชนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร (พิมพ์สิริ หอมดอก)
- อิทธิพลของการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ การตลาดในสื่อนิตยสารสตรีต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (ณัชชา เพิ่มสุวรรณ)
- พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเว็ปไซต์ Qikplay (ณัฐภรณ์ ชวนสนิท)
- การเปิดรับข่างสารร้านค้าปลีกเฉพาะอย่างสุขภาพและความงามของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (ดวงกมล เคหะเสถียร)
- ความสัมพันธ์ของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ของห้างสรรพสินค้าโรบินสันที่มีผลกับความจงรักภักดีของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานคร (พิชญานิน ทิพย์รักษ์)
- นวัตกรรมการจัดการสื่อสารภายในองค์การเพื่อเสริมสร้างความผูกพันต่อพนักงานขององค์การและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานขององค์การชั้นนำของประเทศไทย (สรัญญ์ เถระวงศ์)
- นวัตกรรมการจัดการสื่อสารภาพลักษณ์ชื่อเสียงมหาวิทยาลัยไทยสู่นานาชาติ กรณีศึกษา : หลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาตรี ประเทศไทย (ณัฐบูรณ์ พรรัตนเจริญ)
- รูปแบบการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าขององค์กรฝึกอบรมภาครัฐบาล เอกชน และสถานศึกษาในประเทศไทย (สุรีรักษ์ วงษ์ทิพย์)
- การพัฒนานวัตกรรมการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ผ่านการสื่อสารเครือข่ายสังคมออนไลน์ขององค์กรธุรกิจเอกชนในประเทศไทย (อภิชัจ พุกสวัสดิ์)
- รูปแบบการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าขององค์กรฝึกอบรมภาครัฐบาล เอกชน และสถานศึกษาในประเทศไทย (สุรีรักษ์ วงษ์ทิพย์)
- ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของประชาชนในการเลือกใช้บริการสถานเสริมความงามในเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร (ชญาดา คงสินชัย)
- พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อเว็ปไซต์ Qikplay (ณัฐภรณ์ ชวนสนิท)
- ทัศนคติของประชาชนในการมีส่วนร่วมออกเทศบัญญัติการจัดเก็บค่าบำบัดน้ำเสีย ของเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (ศุภกาญจน์ เพ็ชรโยธิน)
- การใช้หลักธรรมเพื่อการบริหารงานของผู้นำองค์กรการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (สุพรรณา ภัทรเมธาวรกุล)
- ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคเจนเนอเรชันวายในการเปิดใช้งานการชำระสินค้าและบริการผ่านอีวอลเลท ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สุรัสสา ลิมปพานนนท์)
- พฤติกรรมการใช้และการรับรู้อิทธิพลของสื่อดิจิทัลต่อเจเนอเรชั่นวายและเจเนอเรชั่นแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (เอมิการ์ ศรีธาตุ)
- การเปิดรับนิตยสารแจกฟรีและอิทธิพลต่อประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร (จรรณกมล ทัพขันธ์)
- อิทธิพลของพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลและส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลการตัดสินใจเลือกเรียนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร (ฐาตารีย์ กาลอม)
Research Papers Published
- ประทุม ฤกษ์กลาง. (ปี 2559). การรับรู้ การมีส่วนร่วมและอิทธิพลการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรเพื่อการพัฒนาสังคมไทยอย่างยั่งยืน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 50 ปี. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- ประทุม ฤกษ์กลาง. (ปี 2558). การใช้สื่อสังคมและการรู้สื่อสังคมของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. ในการประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนาครบรอบ 49 ปี. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- Rerkklang, P. (2557). The Effect of Information Seeking about Dhama, Buddhist Practices and Sufficiency Economy Practices on the Happiness of Bangkok people. Paper presented at Asia Pacific Social Science Conference Program. Kyoto, Japan.
- ประทุม ฤกษ์กลาง. (ปี 2556). การเปิดรับข่าวสารภาพลักษณ์นักการเมือง ทัศนคติและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขคกรุงเทพฯและปริมณฑล. BU Academic Review.
- Pratoom Rerkklang. (2016). Thailand Tourism Images and Behaviors of Thai people in Bangkok and Metropolitan. International Conference on “Business Economics, Social Science & Humanities” (BESSH-2016), Tokyo Japan
- Rerkklang P. (2017). Thailand Tourism Images and Behaviors of Thai people in Bangkok and Metropolitan. International Journal of Humanities, Arts and Social Sciences, 3(3), 122-128.
Research Projects
- ประทุม ฤกษ์กลาง. (ปี 2559). โครงการวิจัยเรื่อง ปัจจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาความผาสุกและความสุขของคนชราในประเทศไทย. กรุงเทพฯ. สำนักวิจัย, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
- ประทุม ฤกษ์กลาง. (ปี 2555). การรับรู้วิชาชีพประชาสัมพันธ์ของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. กรุงเทพฯ.
- ประทุม ฤกษ์กลาง. (ปี 2555). การใช้คอมพิวเตอร์ในการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของนักประชาสัมพันธ์ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. กรุงเทพฯ.
- ประทุม ฤกษ์กลาง. (ปี 2555). พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารการเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมือง ความต้องการและความพึงพอใจการดำเนินประชาสัมพันธ์ทางการเมืองรัฐบาลของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. กรุงเทพฯ.