Associate Dean for Planning and Development Asst. Prof. Warat Karuchit, Ph.D.

Asst. Prof. Warat Karuchit, Ph.D.

Associate Dean for Planning and Development Asst. Prof. Warat Karuchit, Ph.D.

  • Fullname :Asst. Prof. Warat Karuchit, Ph.D.
  • Position :Associate Dean for Planning and Development
  • Tel :+(662) 727-3013
  • Email : warat.k@nida.ac.th

About

  • Education :การศึกษา :Ph.D. (Mass Media & Communication), Temple University, USA
  • M.A. (Marketing & Communication), DePaul University, USA
  • B.A. (Advertising), Thammasat University, Thailand

Expertise of Academic

  • Research :การสื่อสารการตลาด สื่อใหม่ ผลกระทบ และจริยธรรมสื่อ ความรู้เท่าทันสื่อ

Academic Works

  • Journal :

  • วรัชญ์ ครุจิต. (2555). คู่มือการประชาสัมพันธ์ยุคดิจิทัล (แปลจาก The AMA Handbook of Public Relations). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
  • วรัชญ์ ครุจิต. (2555). อัจฉริยะคิดสร้างสรรค์ (แปลจาก The Art of Creative Thinking โดย John Adair). กรุงเทพฯ: ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์.
  • อุดม ไพรเกษตร, รัญชนา รัชตะนาวิน, และวรัชญ์ ครุจิต. (2554). คู่มือการบริหารกิจการหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
  • วรัชญ์ ครุจิต. (2553). การแปลภาษาอังกฤษเพื่องานนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
  • วรัชญ์ ครุจิต. (2554). 10 แนวทาง รู้เท่าทันสื่อ ประยุกต์ใช้ในห้องเรียน. ใน ธาม เชื้อสถาปนศิริ (บรรณาธิการ) รู้ทันสื่อ (หน้า 89-105). กรุงเทพฯ: แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน.
  • วรัชญ์ ครุจิต. (2552). หน่วยที่ 8 สื่อโฆษณา. ใน อภิชญา อยู่ในธรรม (บรรณาธิการ) เอกสารการสอนชุด วิชาหลักการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ (หน้า 8-1 – 8-54). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • IS/Thesis

  • ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจแบ่งปันเนื้อหาออนไลน์ในรูปแบบไวรัลมาร์เก็ตติ้ง (Viral Marketing) (ปราณิศา ธวัชรุ่งโรจน์)
  • การศึกษาและเปรียบเทียบรูปแบบการสื่อสารการละครเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านความฉลาดทางอารมณ์ (วรภพ เจริญมโนพร)
  • การสื่อสารการตลาด ความผูกพัน และปัจจัยในการเปลี่ยนตราสินค้าโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ชโรชา กนกประจักษ์)
  • กลยุทธ์การสื่อสารของผู้ทรงอิทธิพลทางความคิดในดลกออนไลน์ที่มีผลต่อทัศนคติของกลุ่มผู้ติดตาม (รัฐญา มหาสมุทร)
  • ประสิทธิภาพของนวัตกรรมการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม ของกรันพีซประเทศไทยที่มีต่อกลุ่มคนเจเนอเรชั่นซี (ชนม์ชนก เพ็งกุล)
  • รูปแบบและองค์ประกอบของการเล่าเรื่องในฐานะกลยุทธ์การตลาดด้วยเนื้อหาของตราสินค้าผลิตภัณฑ์ผู้หญิง (รัชกฤต ไตรศุภโชค)
  • กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดเบเกอรี่ตราเลอแปง (มนัสพงษ์ ภาวิขำ)
  • กลยุทธ์การปรับตัวทางการสื่อสารการตลาดของธุรกิจหนังสือในยุคดิจิทัล (ฐปณีย์ อรุณรัตนดิลก)
  • การศึกษาการบริหารจัดการบุคคลที่มีชื่อเสียงในประเทศ (สุนันทา วีระเมธีกุล)
  • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัลในยุคหลอมรวมสื่อในจังหวัดมหาสารคาม (ชรรชรีภรณ์ เวฬุวนารักษ์)
  • Brand Portfolio Strategy for Thai Fashion Company (Mrs.Kwanta Sirivajjanangkul)
  • การศึกษารูปแบบ เนื้อหา และกลยุทธ์ในการสื่อสารการตลาดในสื่อสังคมของค่ายเพลงไทย (วาสิฏฐี ศรีติรัตน์)
  • การวิเคราห์การสื่อสารของธุรกิจร้านค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อพฤติกรรมและทัศนคติของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวายในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ (กุลนิดา แย้มทิม)
  • การเลือกใช้และการออกแบบสื่อโฆษณาที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้และทัศนคติของผู้บริโภค: กรณีศึกษาบ้านทาวน์เฮาส์ (ยุทธพล คุณวงศ์วิวัฒน์)
  • พฤติกรรมการเลือกซื้อและทัศนคติต่อรูปแบบบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางประเภทดูแลผิวของผู้บริโภคเพศชายสมัยใหม่ (มันตาภรณ์ อนะวัชพงษ์)
  • กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผ่านโซเซียลมีเดียสำหรับรายการโทรทัศน์ (บุญณัฐ ฉัตรเสาวภัณฑ์)
  • การเปิดรับข่าวสารทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร (วรวรรณ วีระกุล)
  • รูปแบบของการทำการตลาดผ่านบุคคลมีชื่อเสียงในสื่อออนไลน์ อินสตาแกรม (โอริสสา รัฐกิจวิจารณ์ ณ นคร)
  • คาแรคเตอร์การ์ตูนที่มีผลต่อการรรับรู้ ทัศนคติ และการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอาง: กรณีศึกษาแบรนด์ M.A.C (Cartoon Collections) (ณัฐพรรพรรณ มีล้อมศักดา)
  • การรับรู้และความเข้าใจของผู้ชมละครที่มีต่อโรคฮีสทีเรียผ่านโทรทัศน์ไทย (สุคนธวา เกิดนิมิต)
  • การศึกษาการสื่อสารแบรนด์ของคุมะมงผ่านสื่ออนไลน์ (กะรัตเพชร บุญชูวิทย์)
  • การศึกษาคาแรกเตอร์ตัวละครไทยและความเป็นไทยที่ถูกถ่ายทอดผ่านทางแอนิเมชันญี่ปุ่น (กฤตพร สกุลศรี)
  • การรับรู้ความหมายจากสัญลักษณ์ที่ใช้ในการจัดแสดงสินค้าของผู้บริโภคร้าน Louis Vuitton และ Chanel และผลกระทบที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ และการตัดสินใจซื้อ (ณัฐกิตติ์ กีรติรัตน์)
  • แรงจูงใจ และปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเล่นฟิตเนส (พิมพกานต์ อยู่เย็น)
  • การใช้สื่อดนตรีบำบัดความเครียดสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ลลิน จำปาวงศ์)
  • การออกแบบการสื่อสารด้วยกิจกรรมละครในกลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง (สุวิมล อุทัยโรจนรัตน์)
  • SOCIAL MEDIA AS A TOOL FPR FAMILY COMMUNICATION IN THE DIGITAL AGE: COMMUNICATION FUNCTION, RELATIONSHIP BONDING AND BUILDING OF MUTUAL UNDERSTANDING (Korakot Sanjit)
  • DIGITAL COMPATENCE AND DIGITAL LITERACY IN SOCIAL MEDIA USAGW FOR THE VISUALLY IMPAIRED YOUTHS IN THAILAND (Prapaporn Ratano)
  • DATA JOURNALISM: PRINCIPLE DEVELOPMENT AND KNOWLEDGE (Ekapon Thienthaworn)
  • Communication and Marketing Mix Affecting Buyers’ Purchase Decision of Building-Materials from Actual Stores and E-Marketplace Stores
  • Usage of Thai Language on Youtube
  • Usage of Thai Language on Youtube
  • Marketing Communication Strategy, Influence Factors, and the Purchasing Decision Behavior for Condominiums Via Online Channels ( Mr. Saranpong Ngampradit 2562)
  • The Adaptation of a News Organization in the Age of Digital Disruption: A Case study of Bangkok Post Public Company Limited (Miss Soratree Gajajiva 2562)
  • TIKTOK APPLICATION MARKETING COMMUNICATION STRATEGY OF MARKETERS AND INFLUENCERS AND TIKTOK USERS' BEHAVIOR : CASE STUDY OF BEAUTY PRODUCTS
  • Research Papers Published

  • วรัชญ์ ครุจิต. (2559). ประสิทธิผลของนวัตกรรมการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม ของกรีนพีชประเทศไทยที่มีต่อกลุ่มคนเจนเนอเรชั่น ซี. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร.
  • Karuchit, W. (2556, April) The Survey of Media Literacy Education In Higher Education in Thailand Paper presented at International Conference for Academic Disciplines. Vienna, Austria.
  • Research Projects

  • ปวรัชญ์ ครุจิต. (2558). โครงการพัฒนาองค์ความรู้สื่อมวลชนเพื่อสนับสนุนระบบสื่อสารสุขภาวะ. กรุงเทพฯ, สถาบันอิศรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย.
  • ปวรัชญ์ ครุจิต. (2558). รูปแบบของการสื่อสารในสื่อดิจิทัลที่ส่งผลกระทบในแง่ลบต่อเด็กและเยาวชน และแนวทางการดูแล ป้องกัน และเสริมสร้างความรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลสำหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ, สสดย.
  • ปวรัชญ์ ครุจิต. (2558). กรณีศึกษาจากประเทศไทยและต่างประเทศ. กรุงเทพฯ, กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์.
  • ปวรัชญ์ ครุจิต. (2557). การสื่อสารการตลาดในยุคดิจิทัลสำหรับองค์กรสื่อสารสาธารณะ (Marketing Communication in the Digital Era for Public Media Organizations). กรุงเทพฯ, ส.ส.ท.
  • ปวรัชญ์ ครุจิต. (2555). โครงการศึกษากลุ่มความคิดใหม่และข้อเสนอแนะเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อรูปแบบ-เนื้อหารายการโทรทัศน์/สื่อสำหรับเด็กและเยาวชนในอนาคตของสถานีโทรทัศน์เพื่อบริการสาธารณะไทยพีบีเอส. กรุงเทพฯ, สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ.
  • ปวรัชญ์ ครุจิต. (2555). การสำรวจการเรียนการสอนความรู้เท่าทันสื่อในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ