
Lecturer Prof. Patchanee Cheyjunya
- Fullname :Prof. Patchanee Cheyjunya
- Position :Lecturer
- Tel :+(662) 727-3730
- Email : patchanee.c@nida.ac.th
About
- Education :นิเทศศาสตรบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2520
- นิเทศศาสตรมหาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2525
Expertise of Academic
- Research :การวิจัยเชิงปริมาณ และการประเมินผลการประชาสัมพันธ์ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
Academic Works
Journal :
- 2548 งานวิจัยเรื่อง “การนำเสนอข่าวสารของสื่อมวลชน กรณีปัญหาชายแดนภาคใต้” ร่วมกับ รองศาสตราจารย์เมตตา วิวัฒนานุกูลและคณะ โดยทุนวิจัยคณะกรรมการสมานฉันแห่งชาติ
- 2547 งานวิจัยเรื่อง “การสำรวจการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในงานประชาสัมพันธ์” ร่วมกับ รองศาสตราจารย์อุบลวรรณ ปิติพัฒนโฆษิต โดยทุนวิจัยรัฐบาล
- 2537 งานวิจัยเรื่อง “การรับข่าวสารความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการมีส่วนร่วมในการชักจูงใจประชาชนให้อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของผู้นำสตรีในภาคเหนือ” ร่วมกับ รองศาสตราจารย์จิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์ โดยทุนวิจัยรัฐบาล
- 2536 งานวิจัยเรื่อง “เทคโนโลยีสารสนเทศและบทบาทในการพัฒนาสังคมไทย” ร่วมกับ ดร.อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท, เมตตา วิวัฒนานุกูล โดยทุนวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- 2536 งานวิจัยเรื่อง “สถานภาพและความก้าวหน้าของผู้หญิงในงานประชาสัมพันธ์” ร่วมกับ อาจารย์อุบลวรรณปิติพัฒนะโฆษิตโดยทุนวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- 2534 งานวิจัยเรื่อง “การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ” ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์ และอาจารย์สมบูรณ์ สุขะวณิชโดยทุนวิจัยรัฐบาล
- 2534 งานเรียบเรียงหนังสือเรื่อง “การใช้โปรแกรม SPSS* สำหรับงานวิจัยนิเทศศาสตร์”
- 2533 งานวิจัยเรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อมวลชนรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวและแนวคิดด้านสันติภาพของเด็กไทย” ร่วมกับผู้ช่วยศาสตราจารย์เมตตา กฤตวิทย์, รองศาสตราจารย์ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์และอาจารย์ประทุม ฤกษ์กลาง โดยทุนวิจัยสมาคมสังคมศาสตร์
- 2531 งานวิจัยเรื่อง “Family Communication Patterns and Exposure of Bangkok Juveniles to Mass Media” ร่วมกับอาจารย์ประทุม ฤกษ์กลาง โดยทุนวิจัย AMIC (Asian Mass Communication Research and Information Center)
- 2530 งานวิจัยเรื่อง “การประเมินผลสื่อเพื่อสร้างแนวคิดด้านสันติภาพแก่เด็กและเยาวชน” ร่วมกับอาจารย์เมตตา กฤตวิทย์ โดยทุนวิจัยสถาบันปรีดีพนมยงค์
- 2530 งานเรียบเรียงหนังสือ “แนวคิดหลักนิเทศศาสตร์” ร่วมกับอาจารย์เมตตา กฤตวิทย์และผู้ช่วยศาสตราจารย์ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์
- 2529 งานวิจัยเรื่อง “โครงสร้างระบบสื่อมวลชนในประเทศไทย” ร่วมกับศาสตราจารย์บำรุงสุข สีหอำไพ, รองศาสตราจารย์ดร.ปรมะ สตะเวทินและรองศาสตราจารย์อรรณพ เธียรถาวร โดยทุนวิจัยรัฐบาล
- พัชนี เชยจรรยา, ชมพูนุช สารวานิชพิทักษ์. (2556). รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับสื่อ และความภักดี ของผู้ฟังรายการวิทยุกรีนเวฟ. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 6 (2), 107-119.
- พัชนี เชยจรรยา, กิรติ คเชนทวา. (2557). แนวทางการสื่อสารตราสินค้าเพื่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กับผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวาย. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 7 (1), 106-116.
- พัชนี เชยจรรยา, ฐิติพร ปิยะพงษ์กุล. (2557). รูปแบบการดำเนินชีวิต การแสวงหาข้อมูล และพฤติกรรมการซื้อสินค้า และบริการของผู้บริโภคที่ใส่ใจสุขภาพ. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 7 (1), 38-63.
- พัชนี เชยจรรยา, ขวัญชนก มั่นหมาย. (2558). บทบาทการสื่อสารขององค์กรนวัตกรรมชาวบ้าน. วารสารนิเทศศาสตร์, 33 (4), 43-62.
- พัชนี เชยจรรยา. (2558). การใช้ชีวิต และการสื่อสารเพื่อเข้าสู่พรมแดนดิจิทัลของพลเมืองดิจิทัลหน้าใหม่ . นิเทศศาสตร์ปริทัศน์, 18 (3), 99-116.
- พัชนี เชยจรรยา, ธันย์ชนก โชติกันตะ. (2559). ความคิดเห็นที่มีต่อพริตตี้ในการนำเสนอสินค้าและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม, 9 (2), 107-117.
- Patchanee Cheyjunya, Kirati Kachentawa. (2017). Factors Promoting Participatory Communication to Create Health Communication Behavior in the Community. International Journal of Behavioral Science, 12(1), 13-28.
- พัชนี เชยจรรยา, สุจรรยา น้ำทองคำ. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อทางสื่อออนไลน์ของผู้บริโภค. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 10(2), 121-135.
- พัชนี เชยจรรยา. (2560). แบบจำลองเชิงสาเหตุปัจจัยการสื่อสารเพื่อความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของประชาชนในเขตชายแดน. วารสารนิเทศศาสตร์ปริทัศน์, 20(2), 20-32.
- พัชนี เชยจรรยา, ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ, กาญจนา แก้วเทพ. การพัฒนาดัชนีชี้วัดวัฒนธรรมอาเซียนและมาตรวัดวัฒนธรรมอาเซียนสำหรับสื่อ. วารสารนิเทศศาสตร์, 35(2), 113-135.
- พัชนี เชยจรรยา, ธัญลักษณ์ ธนปกิจ. กระบวนการถ่ายทอดการสื่อสารแบบเครือข่ายจากพันธมิตรภาคธุรกิจสู่พันธมิตรภาคการศึกษา. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 9(3), 155-168.
IS/Thesis
- นวัตกรรมการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการรับรู้ และการตัดสินใจทำประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร (วัลย์ลิกา บูรณ์ทอง)
- นวัตกรรมการสื่อสารของเครือข่ายพุทธศาสนิกชนในการสวดมนต์ทำวัตรเย็นเพื่อพัฒนาจิตใจ และการสืบทอดพระพุทธศาสนา (ปาณิศา วัฒนพฤกษ์)
- การรับรู้ข้าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์กับทัศนคติและพฤติกรรมมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร (เมษิยา ญาณจินดา)
- การสื่อสารเพื่อช่วยเหลือสังคมผ่านสื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กของมูลนิร่วมกัญญูและการรับรู้ของประชาชน (สุพรรณี ดีสวัสดิ์)
- สื่อโฆษณาออนไลน์ผลิตภัณฑ์กาแฟควบคุมน้ำหนักกับการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค (สิริญญา ลิมโพธิ์ทอง)
- รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับข่าวสาร และพฤติกรรมการท่องเที่ยวตลาดย้อนยุคของนักท่องเที่ยวชาวไทย (ชุลีพร ธานีรัตน์)
- การสื่อสารเพื่อการธำรงรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนถนนยมจินดา จังหวัดระยอง (ภัทราพร เนาวรัตน์ธนากร)
- พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์และการนำไปใช้ประโยชน์ในการสื่อสารของคนในกรุงเทพมหานคร (กฤษณี เสือใหญ่)
- การตอบสนองของผู้บริโภคต่อสื่อแฝงในบรรยากาศ (เมทธานี แพน้อย)
- การรับรู้ข่าวสารการตลาดและการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางของคนรุ่นใหม่เพศหญิงผ่านกูรูความงาม (วิลาสินี สงวนวงษ์)
- การสื่อสารนวัตกรรมการพัฒนาของกิจการเพื่อสังคม องค์กรนวัตกรรมชาวบ้าน (ขวัญชนก มั่นหมาย)
- นวัตกรรมการสื่อสารผ่านแอปพลิเคชั่น (Application) ผ่านรายการเกมโชว์โซเชี่ยล ช่องไทยรัฐทีวี 32 กับการตอบสนองของผู้ชม (ชวภณ คารมภ์)
- ปัจจัยการสื่อสารการตลาดกาแฟ SPECIALTY กับรูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับสื่อพฤติกรรมการใช้บริการและทัศนคติของกลุ่มผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวาย (เอกยุทธ ภมรกูล)
- การจัดการการสื่อสารเพื่อการจัดระเบียบชุมชน และสถาบันเทิงชุมชนคลองหก จังหวัดปทุมธานี (ณพนันท์ ขอจิตต์เมตต์)
- กลยุทธ์สื่อบุคคลเพื่อสร้างเครือข่ายการสื่อสารอย่างมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนา “เกษตรอินทรีย์” (รุจิรา จิตต์ตั้งตรง)
- การจัดการการสื่อสารเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมคลองแสนแสบกับการรับรู้ของประชาชนชุมชนมัสยิดกมาลุลอิสลาม (ธัญวรรณ แก้วชะฎา)
- การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหมชุมชนบ้านประทุน ตำบลแตล อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ (ปัญญรัตน์ วันทอง)
- การพัฒนาโมเดลสมการเชิงโครงสร้างปัจจัยการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม ในการสร้างพฤติกรรมการสื่อสารสุขภาพชุมชนตำบลวังแขม อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร (กิรติ คเชนทวา)
- นวัตกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความลุ่มหลงตัวตน (Digital Narcissism) ในสื่อสังคมออนไลน์ของ Gen Me ในประเทศไทย (จารุวรรณ กิตตินราภรณ์)
- การพัฒนาดัชนีชี้วัดและมาตรวัดวัฒนธรรมอาเซียนในสื่อ (ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ)
- แบบจำลององค์ประกอบความหมายอัตลักษณ์อาเซียนและการพยากรณ์อัตตนิยมทางวัฒนธรรมของเยาวชน (พิทักษ์ ชูมลคล)
- แบบจำลองปัจจัยการบริหารประสบการณ์ลูกค้าของโรงแรมระดับ 5 ดาว ในประเทศไทย (โฉมไฉน บรรลือสินธุ์)
- การสื่อสารกระบวนทัศน์แบบอาทิตยานุวัตรสู่ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนผ่านเครือข่ายโครงการเรือเยาวชนเอเชียอาคเนย์ (พิชิต ธิอิ่น)
- กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบพันธมิตร กับการรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้บริโภคผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ดาณี ทรงศิริเดช)
- รูปแบบการดำเนินชีวิต การรับรู้ข้อมูลการท่องเที่ยวจากสื่อออนไลน์ ความน่าเชื่อถือและพฤติกรรมการตัดสินใจท่องเที่ยวต่างประเทศ (อภิชญา ณัฐพงศ์พฤทธิ์)
- วิธีการสื่อสารและการธำรงอยู่ของกลุ่มแฟนคลับศิลปินนักร้องจากกลุ่มประเทศเกาหลีใต้ในประเทศไทย (ชนกานต์ รักชาติ)
- ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารออร์แกนิคออนไลน์ของผู้บริโภค (ชัญญา ชินิมิตร)
- ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคทางสื่อออนไลน์ (สุจรรยา น้ำทองคำ)
- ความคิดเห็นที่มีต่อพริตตี้ในการนำเสนอสินค้าและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม (ธันชนก โชติกันตะ)
- รูปแบบการดำเนินชีวิต การรับรู้ข่าวสาร ความพึงพอใจและการใช้ประโยชน์จากข่าวสารทางทีวีออนไลน์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร (ชฎาพร ทับคง)
- รูปแบบการดำเนินชีวิต ความพึงพอใจ การเปิดรับข่าวสาร และพฤติกรรมการท่องเที่ยวแบบธรรมชาติของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร (นวรัตน์ สุธรรมชัย)
- รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับข่าวสาร และพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์กับการใช้ประโยชน์ของนักท่องเที่ยวชาวไทย : ในบริบทเทศกาลดนตรี (ธนิตา คงชัย)
- ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเข้าร่วมการตลาดเชิงกิจกรรมของกลุ่มเจเนอเรชั่นวายและเจเนอเรชั่นแซดในเขตกรุงเทพมหานคร (รัตนภิมล ศรีทองสุข)
- เครือข่ายการสื่อสารออนไลน์ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันเพื่อการเดินทางในเขตกรุงเทพมหานคร (ศรัณย์ จันทร์หาญ)
- การศึกษากลบุทธ์การสื่อสารแนวคิดการตลาดเชิงประสบการณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวดาษดา แกลเลอลี่ (สุพรรณี สมศรี)
- การรับรู้และกลยุทธ์การใช้งาน Google ADWords ของคนทำงานในกรุงเทพมหานคร (ศรัณยู มณีรอด)
- ทัศนคติที่มีต่อการใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นพรีเซนเตอร์โฆษณา Samsung Galaxy Note 5 กับการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค (ธันยพร บัญฑวรรณ)
- การศึกษาผลจากการใช้คาแรคเตอร์ริรัคคุมะกับแสตมป์เซเว่นอีเลฟเว่น (ปรีดาพร สถาผลเดชา)
- ความน่าเชื่อถือของบิวตี้บล็อกเกอร์กับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางของคนรุ่นใหม่ (พาณิภัค ตระกูลทุม)
- การเข้าถึง ความพึงพอใจ และการใช้บริการของผู้บริโภคบน Application Grab Taxi (เพ็ญสุข ระยับพันธุ์)
- การรับรู้ พฤติกรรมการซื้อสินค้า และการบอกต่อของผู้บริโภคที่มีต่อโฆษณาผ่านทางไลน์ แอปพลิเคชัน โฮมโปร (มุจรินทร์ ชีพอุดม)
- การรับรู้ พฤติกรรมและปัจจัยการตัดสินใจของผู้บริโภคในการเลือกใช้บริการร้านค้าอาหารเคลื่อนที่ Mother Trucker (วรินทร์ธัณย์ งามพิทยพร)
- การรับรู้ ความพึงพอใจ และปัจจัยในการตัดสินใจซื้อสินค้าในตลาดนัดสร้างสรรค์ (Exhibition Market Event) “Art box” (อชิรา คุปพฤทธิ์ไพบูลย์)
- การรับรู้ภาพลักษณ์ใหม่ของแบรนด์สินค้า “ผงหอมศรีจันทร์” และปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อของผู้บริโภค (เอกฤทธิ์ สุวรรณโกเศศ)
- การตลาดแบบอาศัยผู้ทรงอิทธิพลกับการรับรู้ตราสินค้าและการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคบนสื่อสังคมออนไลน์ (ณัฐรีย์ ขันติพงศ์พันธุ์)
- พฤติกรรม ทัศนคติ ความพึงพอใจ ของผู้ใช้แอปพลิเคชันบริการเรียกรถ Uber Taxi ผ่านโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร (ตระการตา ประมูล)
- การรับรู้ข่าวสารการตลาดกับตราสินค้าและการตัดสินใจใช้บริการบุญถาวร ไลท์ติ้ง เซ็นเตอร์ (มนัสนันท์ เตชะพัฒน์สกุล)
- การรับรู้การสื่อสารทางการตลาดของอาหารพร้อมรับประทานตราซีพีกับการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (สริตา เมธีวรัญญู)
- การศึกษาเกี่ยวกับการเปิดรับตราสินค้าและการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อการบอกต่อผลิตภัณฑ์ไอศกรีมกูลิโกะของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร (กุลเศรษฐ์ ศรีธัญรัตน์)
- ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้า SODA ของคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร (ชัญญานุช นันทขว้าง)
- ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองของลูกค้าที่ส่งต่อความพึงพอใจในการซื้อบัตรชมภาพยนตร์ผ่านโมบายแอปพลิเคชัน เมเจอร์ มูฟวี่ พลัส ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร (ธนพล โพธิสัตย์)
- ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปิดรับสื่อเกมออนไลน์บน Platform Steam ของกลุ่มวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร (ธนวันต์ แสงวิรุณ)
- การยอมรับเนื้อหาข่าวสารในเว็บเพจเกษตรแนวใหม่ของกลุ่มผู้ใช้งาน (นวพร วงศกรวรกมล)
- ปัจจัยการสื่อสารการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเข้าชมและความพึงพอใจในการเยี่ยมชม อาคารนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ (พรทิพย์ ตันศิริ)
- พฤติกรรมการเปิดรับและเนื้อหาละครบุพเพสันนิวาสที่ส่งผลต่อพฤติกรรมตามกระแสนิยมไทยของผู้รับชม (ภรภัทร กิตติมหาโชค)
- ทัศนคติและความพึงพอใจ ต่อการเปิดรับ Display Advertising บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของประชาชนกรุงเทพมหานคร (สกรรจ์ สุทิน)
- ปัจจัยพยากรณ์ด้านพฤติกรรมการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ ด้านพฤติกรรมความเสี่ยงต่อการโดนโจรกรรมข้อมูลและด้านความรู้เท่าทันสื่อกับความปลอดภัยบนโลกไซเบอร์ของกลุ่ม Generation Y (ณิชารัศม์ ลิมปนเทวินทร์)
- รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับสื่อวีล็อก ความน่าเชื่อถือ และการตัดสินใจท่องเที่ยวของผู้ชมวีล็อก (ธนพร ทองแดง)
- ปัจจัยพยากรณ์ที่มีต่อความตั้งใจกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ ของเจเนอเรชัน ซี (Gen C) (พิณญาดา ปิติธนฤทธิ์)
- พฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ ความพึงพอใจ การใช้ประโยชน์และการมีส่วนร่วมต่อสื่อเฟซบุ๊ก สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (NBT 2HD) (ชลิตา เกิดเรณู)
- INNOVATION OF TRANSMISSION PROCESS IN NETWOR COMMUNICATION FROM BUSINESS ALLIANCES TO EDUCATIONAL ALLIANCES (Tanyaluck Thanapakit)
- GAY: THE CONSTRUCTION OF SEXUAL MYTHS IN ADVERTISEMENTS (Chachaya Sakuna)
- YOUTH RADIO PROGRAMS DURING THE INSURGENCY IN THREE SOUTHERN BORDER PROVINCES OF THAILAND (Athitaya Somlok)
- Lifestyle, Perceived value, Satisfaction and Intention to Use LINE stickers through LINE application among the elderly in Bangkok.
- The communication effect factors of millennial on purchasing adult fashion apparels.
- Behaviour of Media Exposure Factors Accessing the Store Factor of Purchase Decision and Behaviour of Purchase Jewellery Online of Consumers (Mr. Kittipitch Onming 2562)
Research Papers Published
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2559). Structure Equation Model of Thai Elderly"s Adoption of Communication Technology. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2558). การใช้ชีวิต และการสื่อสารเพื่อเข้าสู่พรมแดนดิจิทัลของพลเมืองดิจิทัลหน้าใหม่. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2558). บทบาทการสื่อสารขององค์กรนวัตกรรมชาวบ้าน. วารสารนิเทศศาสตร์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2558). ปัจจัยพยากรณ์การบอกต่อข่าวสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตลาดน้ำภาคกลางในสื่อสังคมออนไลน์ของนักท่องเที่ยว. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2557). รูปแบบการดำเนินชีวิต การแสวงหาข้อมูลและพฤติกรรมการซื่อสินค้าและบริการของผู้บริโภคที่ใส่ใจต่อสุขภาพ. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2557). แนวทางการสื่อสารตราสินค้าเพื่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกับผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวาย. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2557). ปัจจัยพยากรณ์การบอกต่อข่าวสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตลาดน้ำในสื่อสังคมออนไลน์ของนักท่องเที่ยว. ในการประชุมวิชาการ ประจำปี 2557 เรื่อง “พัฒนบริหารศาสตร์ในบริบทอาเซียน”. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- Cheyjunya, P. (ปี 2557) Communication Factors and Information Sharing Via Online Media for Floating Market Tourism Promotion in Central River Basin of Thailand. Paper presented at The Inaugural Asian Conference on the Arts, Humanities and Sustainability. Hiroshima, Japan.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2556). การรับรู้ข่าวสาร และความพึงพอใจต่อข่าวสารประชาสัมพันธ์ทางการตลาดของตราสินค้าเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ และความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค. วารสารนิเทศศาสตร์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2556). รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับสื่อ และความภักดีของผู้ฟังรายการวิทยุกรีนเวฟ. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา.
- พัชนี เชยจรรยา. (2559). ปัจจัยการสื่อสารเพื่อพยากรณ์ความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้. วารสารนิเทศศาสตร์, 34 (3), 1-16.
- พัชนี เชยจรรยา. (2559). รูปแบบการใช้ประโยชน์และปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของผู้สูงอายุไทย. วารสารจันทรเกษมสาร, 22 (43), 121-135.
Research Projects
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2559). โครงการการสื่อสารเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน : กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้. กรุงเทพฯ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2558). การประเมินผลคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมประชาสัมพันธ์ ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่รับรู้และเข้าใจในเนื้อหายุทธศาสตร์ชาติและนโยบายสำคัญของรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ, กรมประชาสัมพันธ์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2558). การประเมินผลแผนงานประชาสัมพันธ์การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ, กรมประชาสัมพันธ์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2558). กรณีศึกษาจากประเทศไทยและต่างประเทศ. กรุงเทพฯ, กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2557). ศึกษาและสำรวจข้อมูลศิลปะการทำทองสุโขทัยพร้อมจัดทำชุดองค์ความรู้และชุดสื่อความหมายสำหรับการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ, อพท.
- การประเมินผลวารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ (ปี 2556)
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2556). โครงการที่ปรึกษาประเมินผลตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมประชาสัมพันธ์ ประจำปีงบประมาณ 2556 ตัวชี้วัดที่ 1.1.1, 1.1.2 และ 1.1.3. กรุงเทพฯ, กรมประชาสัมพันธ์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2555). โครงการประเมินผลตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกรมประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ, กรมประชาสัมพันธ์.
- พัชนี เชยจรรยา. (ปี 2555). การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสาธารณภัย และภาวะวิกฤติ. กรุงเทพฯ, กรมประชาสัมพันธ์.